คติพจน์ “สุวิชาโน ภวัง โหติ แปลว่า “ผู้รู้ดีคือผู้เจริญ”
ปรัชญาโรงเรียน “สร้างคน สร้างธรรม สร้างสรรค์”
โรงเรียนแม่ริมวิทยาคมได้จัดการจัดการเรียนการสอนห้องเรียนพิเศษและแผนการเรียน ในปีการศึกษา 2565 ดังนี้
1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จัดห้องเรียนพิเศษ จำนวน 9 ห้องเรียน
1.1 ห้อง 1/1 ห้องเรียนพิเศษภาษาอังกฤษ (SEP: Smart English Program)
1.2 ห้อง 1/2 ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ (SSMP: Smart Science Mathematic Program)
1.3 ห้อง 1/3 ห้องเรียนพิเศษภาษาจีน (SCP: Smart Chinese Program)
1.4 ห้อง 1/4 ห้องเรียนพิเศษกีฬา (ฟุตบอล) (SSP: Smart Sport Program )
1.5 ห้อง 1/5 ห้องเรียนพิเศษสานฝัน (SSNP: Smart Special Needs Program)
1.6 ห้อง 1/6 ห้องงเรียนพิเศษดนตรีสากล (SMP: Smart Music Program)
1.7 ห้อง 1/7 – 1/13 ห้องเรียนปกติ
2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จัดแผนการเรียน จำนวน 22 แผนการเรียน
2.1 แผนการเรียน วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ (ทั่วไป)
2.2 แผนการเรียน วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ (วิทยาศาสตร์สุขภาพ)
2.3 แผนการเรียน วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ (วิศวกรรมศาสตร์)
2.4 แผนการเรียน วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ (คอมพิวเตอร์ AI)
2.5 แผนการเรียน ศิลป์-ภาษาอังกฤษ (ทั่วไป)
2.6 แผนการเรียน ศิลป์-ภาษาอังกฤษ (ธุรกิจการบิน ABM)
2.7 แผนการเรียน ศิลป์-ภาษาจีน
2.8 แผนการเรียน ศิลป์-ภาษาญี่ปุ่น
2.9 แผนการเรียน ศิลป์-ภาษาเกาหลี
2.10 แผนการเรียน ศิลป์-ภาษาเวียดนาม
2.11 แผนการเรียน ศิลป์-ภาษาพม่า
2.12 แผนการเรียน ศิลป์-การจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ (MTM)
2.13 แผนการเรียน ศิลป์-ช่างยนต์
2.14 แผนการเรียน ศิลป์-ช่างไฟฟ้า
2.15 แผนการเรียน ศิลป์-กีฬา
2.16 แผนการเรียน ศิลป์-สุขภาพ
2.17 แผนการเรียน ศิลป์-ดนตรีสากล
2.18 แผนการเรียน ศิลป์-สังคม
2.19 แผนการเรียน ศิลป์-การจัดการท่องเที่ยว
2.20 แผนการเรียน ศิลป์-เตรียมทหาร
2.21 แผนการเรียนเตรียมครูศิลป์
2.22 แผนการเรียนเตรียมครูวิทยาศาสตร์
3. มีการจัดการใช้ภาษาอังกฤษบูรณาการในทุกกิจกรรมในสถานศึกษา (English for Integrated School: EIS)
รายนามผู้บริหารสถานศึกษา ตั้งแต่เริ่มก่อตั้งโรงเรียน จนถึงปัจจุบัน
1. นายชำนาญ จินตสกุล ดำรงตำแหน่ง 1 เมษายน 2514 ถึง 21 ตุลาคม 2518
2. นายวิฑูร ญาณสมเด็จ ดำรงตำแหน่ง 17 ธันวาคม 2519 ถึง 6 กรกฎาคม 2522
3. นายเขียน แสงหนุ่ม ดำรงตำแหน่ง 6 กรกฎาคม 2522 ถึง 24 ตุลาคม 2523
4. นายบุญมี บุญญาทวี ดำรงตำแหน่ง 24 ตุลาคม 2523 ถึง 24 มิถุนายน 2526
5. นายสุนทร พึ่งพุ่มแก้ว ดำรงตำแหน่ง 24 มิถุนายน 2526 ถึง 3 พฤศจิกายน 2532
6. นายสมรัตน์ ตันยา ดำรงตำแหน่ง 3 พฤศจิกายน 2532 ถึง 11 พฤศจิกายน 2537
7. นายพิพานพง(สวัสดิ์) วงศ์วัจนสุนทร ดำรงตำแหน่ง 12 พฤศจิกายน 2537 ถึง 31 พฤษภาคม 2542
8. นายศิริชัย พฤติยะนันท์ ดำรงตำแหน่ง 1 มิถุนายน 2542 ถึง 16 พฤศจิกายน 2544
9. นายธนกฤต วรรณลังกา ดำรงตำแหน่ง 19 พฤศจิกายน 2544 ถึง 5 พฤศจิกายน 2546
10. นายชวลิต วิชาศิลป์ ดำรงตำแหน่ง 6 พฤศจิกายน 2546 ถึง 17 พฤษภาคม 2548
11. นายยงยุทธ สรรพอุดม ดำรงตำแหน่ง 17 พฤษภาคม 2548 ถึง 30 กันยายน 2551
12. นายประมวล พุทธานนท์ ดำรงตำแหน่ง 19 กุมภาพันธ์ 2552 ถึง 30 กันยายน 2553
13. นางสาววิไลวรรณ พิริยะกฤต ดำรงตำแหน่ง 14 กรกฎาคม 2554 ถึง 30 กันยายน 2558
14. นายสำเร็จ ไกรพันธ์ ดำรงตำแหน่ง 30 พฤศจิกายน 2558 ถึง 30 กันยายน 2566
15. นางสาวสมจิตร ตามคำแสง ดำรงตำแหน่ง 1 ตุลาคม 2567 จนถึงปัจจุบัน
วิสัยทัศน์ / Vision (ปี 2563 – 2565)
เป็นผู้นำในการจัดการศึกษา พัฒนาความเป็นอัจฉริยะในตน สู่การเป็นพลโลกอย่างยั่งยืน
ปณิธาน / Commitment
เสริมสร้างอัจฉริยภาพในตัวตน สู่เยาวชนของพลโลก
พันธกิจ / Missions
1. เป็นผู้นำในการจัดการศึกษา ใช้นวัตกรรมพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพในการแข่งขันระดับสากล
2. ค้นหาความเป็นอัจฉริยะในตัวผู้เรียนตามศักยภาพ ด้วยหลักสูตรการเรียนรู้ที่หลากหลาย
3. ขับเคลื่อนระบบบริหารบุคลากรและการจัดการเรียนรู้ที่มีคุณภาพเพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะและอัจฉริยภาพตัวผู้เรียน
4. พัฒนาทักษะสู่ความเป็นพลโลกด้วยภาษาสากล คุณลักษณะอันพึงประสงค์ คุณธรรม วัฒนธรรมโดยบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างเป็นรูปธรรม
เป้าประสงค์ / Goal
สร้างพลโลก ด้วยอัจฉริยภาพในตน
อัตลักษณ์ / Identity
ผู้เรียนเป็นบุคคลอัจฉริยภาพ งดงามตามวิถีล้านนาในสังคมโลก
เอกลักษณ์ /Unique
สืบสาน พระปณิธานพระราชชายาเจ้าดารารัศมี
กลยุทธ์ / Strategy
1. พัฒนาและส่งเสริมให้ครูเป็นผู้นำในการใช้นวัตกรรมพัฒนาความเป็นอัจฉริยภาพของผู้เรียน
2. จัดหลักสูตรที่หลากหลายตามศักยภาพและความสนใจของผู้เรียน
3. ใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่มีคุณภาพภายใต้การวิจัยและนวัตกรรมด้วยระบบบริหารสู่การเปลี่ยนแปลง
4. จัดการเรียนการสอนโดยใช้ภาษาสากลแบบบูรณาการ
5. บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาการเรียนรู้ การทำงานและการใช้ชีวิตประจำวันอย่างเป็นรูปธรรม
6. ใช้ระบบคุณภาพ TQA ในการบริหารจัดการศึกษา
7. บุคลากรขับเคลื่อนการทำงานด้วย MAERIM DARA MODEL